Thailand Blog
อัพเดตนโยบายความเป็นส่วนตัวและเงื่อนไขการให้บริการล่าสุดจาก Google
วันอังคารที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2555
English
ช่วงเวลาเดือนเศษ ที่เรา
มีการเปลี่ยนแปลงบางอย่าง
เกี่ยวกับนโยบายความเป็นส่วนตัวและข้อกำหนดการให้บริการต่างๆ ของ Google เรื่องนี้มีความสำคัญมาก ดังนั้นเราต้องการอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ว่าคืออะไร, และทำไมจึงมีความหมายกับผู้ใช้งานมากมาย
อย่างแรก คือ นโยบายความเป็นส่วนตัว แม้จะมี
ระเบียบบังคับ
เรื่องนโยบายความเป็นส่วนตัวออกมา ในปี 2553, แต่ยังมีเอกสารด้านความเป็นส่วนตัวมากกว่า 70 ฉบับ (ใช่ คุณอ่านไม่ผิดหรอก 70 ฉบับ!) ที่ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายของเรา วิธีการนี้ค่อนข้างซับซ้อน และดูจะขัดแย้งกับความพยายามที่จะรวมผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างของเราเข้าด้วยกันให้มากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะสามารถสร้างตัวอย่างที่โดดเด่น ภายใต้ประสบการณ์ใช้งานจากผู้ใช้จริงของ Google
ดังนั้นเราจึงเปิดตัวนโยบายใหม่ในเรื่องความเป็นส่วนตัว ที่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ของเรา และอธิบายได้่ว่าเรามีการเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทไหนไว้บ้าง และเราใช้มันอย่างไรเพื่อให้อ่านได้เข้าใจง่ายขึ้น ในขณะที่ต้องคอยจับจ้องการแจ้งข้อมูลที่เป็นส่วนตัวของบุคคลต่างๆ ในแต่ละคนไว้ เพื่อเหตุผลทางกฏหมายและเหตุผลอื่นๆ เรากำลังรวบรวมข้อมูลเหล่านั้นที่ใมีมากกว่า 60 รายการ ไว้ในนโยบายความเป็นส่วนตัวของเรา
จากการที่หน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลทั่วโลก เคยได้รับการร้องขอให้มีนโยบายส่วนบุคคลที่ ง่ายขึ้นและสั้นลง และขอให้มีนโยบายเดียวครอบคลุมผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกันหลายๆ ประเภท ขณะนี้เราได้ทำให้เป็นมาตรฐานเหมือนกันทั้งเว็บแล้ว
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะมีผลในวันที่ 1 มีนาคม และเราเริ่มแจ้งให้ผู้ใช้ทราบตั้งแต่วันนี้ ผ่านทางอีเมล และผ่านการแจ้งเตือนบนหน้าโฮมเพจของเรา
ในทางปฏิบัติ สิ่งนี้หมายความว่าอย่างไร? การเปลี่ยนแปลงหลักๆ นี้เป็นสำหรับผู้ใช้บัญชี Google นโยบายด้านความเป็นส่วนตัวใหม่ของเรา นั้นชัดเจนว่า ถ้าคุณลงชื่อเข้าใช้ เราจะรวมข้อมูลที่คุณใส่ไว้ในบริการหนึ่งของเรา เข้ากับข้อมูลของคุณที่อยู่ในบริการอื่นๆ กล่าวสั้นๆ เราถือว่าคุณคือ ผู้ใช้คนเดียวกันในทุกๆ ผลิตภัณฑ์ของเรา ซึ่งนั่นจะง่ายกว่า และเป็นการเข้าใจประสบการณ์ของผู้ใช้ Google ได้มากกว่า
ฟีเจอร์เกี่ยวกับการค้นหาส่วนตัวที่เพิ่งเปิดตัวไปเร็วๆ นี้ เป็นตัวอย่างที่ดีของเรื่องเจ๋งๆ ที่ Google สามารถทำได้ เมื่อเราได้รวมข้อมูลของทุกผลิตภัณฑ์ไว้ด้วยกัน ที่กล่องค้นหา (search box) สามารถให้คำตอบที่ตรงใจที่สุดกับคุณ ซึ่งไม่ใช่เพียงข้อมูลบนเว็บ แต่ยังได้มาจากข้อมูลอันมากมายส่วนตัวของคุณด้วย ดังนั้นถ้าผมค้นหาข้อมูลร้านอาหารในกรุงเทพฯ ผมอาจพบโพสต์และรูปภาพจาก Google+ ที่เพื่อนๆ แบ่งปันกับผม หรือที่อยู่ในอัลบั้มของผมเองได้ วันนี้เรายังสามารถทำสิ่งต่างๆ ให้ง่ายขึ้นกว่าเดิมอีกมาก เช่น ให้คุณอ่านบันทึกใน Google Docs ได้อย่างง่ายๆ จากอีเมล์คุณ หรือเพิ่มรายชื่อติดต่อจาก Gmail คุณไปยังการนัดประชุมใน Google Calendar
แต่ยังมีอีกมากที่ Google สามารถช่วยคุณ ด้วยการแบ่งปันข้อมูลของคุณกับ …... ให้มากขึ้น เราสามารถทำให้การค้นหาดียิ่งขึ้น ด้วยการหาความต้องการจริงๆ ของคุณเมื่อคุณพิมพ์คำว่า Apple, Jaguar หรือ Pink เราสามารถให้โฆษณาที่เกี่ยวเนื่องด้วย ตัวอย่างเช่น ตอนนี้เป็ฺนเดือนมกราคม แต่คุณอาจไม่ได้เป็นคนออกกำลังกายเป็นประจำ ดังนั้นโฆษณาสถานที่ออกกำลังกาย ก็ไม่มีประโยชน์กับคุณ เราสามารถให้การแจ้งเตือนว่าคุณกำลังจะไปประชุมช้า โดยพิจารณาจากที่อยู่ของคุณ ปฏิทินของคุณ และการจราจรในวันนั้นเป็นอย่างไร หรือช่วยให้คุณมั่นใจได้เกี่ยวกับการแนะนำการสะกดคำของเรา แม้แต่ชื่อเพื่อนคุณ ให้มีความถูกต้องแม่นยำเพราะคุณเคยพิมพ์ชื่อพวกเขามาก่อน ผู้คนยังคงต้องหาวิธีเพื่อยกระดับชีวิตให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป และเราต้องการทำงานให้ดียิ่งๆ ขึ้นไปเพื่อสนับสนุนพวกเขา
อย่างที่สอง คือ เรื่องข้อกำหนดการบริการของ Google - ข้อกำหนดที่คุณตกลงเมื่อคุณใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของเรา ตามนโยบายส่วนตัวของเรา เราได้เขียนขึ้นมาใหม่เพื่อจะได้อ่านเข้าใจได้มากขึ้น ซึ่งเราได้ตัดตัวเลขโดยรวมออก ผลิตภัณฑ์จำนวนมากของเราขณะนี้ครอบคลุมด้วย ข้อกำหนดหลักตัวใหม่ของ Google พบกับข้อกำหนดที่มีการปรับปรุงใหม่ของเรา ได้ที่ี่
ลิงค์
ท้ายที่สุด คือ สิ่งที่เรายังไม่ได้เปลี่ยนแปลง เรายังคงมุ่งมั่นในเรื่องการ
ปลดปล่อยข้อมูล
เช่น ถ้าคุณต้องการนำข้อมูลคุณไปยังที่อื่นๆ เรา
จะไม่ขาย
ข้อมูลส่วนตัวของคุณ ทั้งจากที่คุณแบ่งบันให้กับภายนอกโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคุณ ยกเว้นในสถานการณ์ที่จำกัดมาก เช่น โดยคำสั่งศาลที่ถูกต้อง เรา
พยายามอย่างหนัก
ที่จะให้ความโปร่งใสกับข้อมูลของคุณที่เรารวบรวมไว้ และให้ทางเลือกที่มีความหมายกับคุณ ว่าคุณจะใช้มันอย่างไร ตัวอย่างเช่น
Ads Preferences Manager
ที่ช่วยให้คุณสามารถปรับเเต่งหมวดหมู่โฆษณาที่คุณสนใจหรือปิดโฆษณาที่ไม่สนใจได้บน Google และเรายังคงเน้นในเรื่องการออกแบบเครื่องมือช่วยควบคุมความเป็นส่วนตัว เช่น
แวดงวง
ใน Google+ ไว้ในผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เริ่มต้น
เราเชื่อว่านโยบายความเป็นส่วนตัวที่เรียบง่ายนี้ จะทำให้ผู้คนเข้าใจในทางปฏิบัติต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องความเป็นส่วนตัวของเราได้ง่ายขึ้น รวมทั้งทำให้ Google สามารถเสนอบริการต่างๆ ที่ดีขึ้นได้ ไม่ว่าคุณจะเป็นมือใหม่เพิ่งหัดใช้ Google หรือใช้มานานแล้ว โปรดสละเวลาสักนิด เพื่ออ่าน
นโยบายความเป็นส่วนตัวและข้อกำหนดการให้บริการฉบับล่าสุดของเรา
เพื่อ
ศึกษา
และทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสำหรับการควบคุมที่เราได้กำหนดขึ้น
โดย อัลม่า ไวท์เทน, ผู้อำนวยการด้านสิทธิส่วนบุคคล, ผลิตภัณฑ์และวิศวกรรม
Posted by Alma Whitten, Director of Privacy, Product and Engineering
Google+ พัฒนาระบบความปลอดภัยใหม่ พร้อมเเล้วสำหรับวัยทีน
วันศุกร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2555
วัยรุ่น และวัยหนุ่มสาวคือกลุ่มผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตมากที่สุดใน
โลกใบนี้
และ่ที่น่าสนใจยิ่งไปกว่านั้น ก็คือ พวกเขามีพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่เน้นไปยังเรื่องที่สนุกสนานระหว่างเพื่อนๆ และคนในครอบครัว เมื่อรวมข้อมูลทั้งสองไว้ด้วยกัน จะเห็นได้ว่า ผู้คนในวัยนี้มีแนวโน้มการเชื่อมโยงกับออนไลน์เพิ่มมากขึ้น
แต่โชคไม่ดี ที่พวกเขายังให้ความสำคัญกับการเเบ่งบันข้อมูลเป็นลำดับรองลงมา
ในชีวิตคนเรา ตัวอย่างเช่น วัยรุ่นสามารถแบ่งปันสิ่งที่ใช่ให้กับแค่คนที่เขาต้องการได้ (เช่นในกลุ่มเพื่อนชั้นเรียน, ผู้ปกครอง หรือแม้เเต่คนใกล้ชิด) เมื่อเวลาผ่านไป ความแตกต่างอันเ็ล็กน้อยและปริมาณที่มหาศาลของการแบ่งปันข้อมูลที่ได้เลือกไว้แล้ว ได้กลายเป็นความเชื่อและความรับผิดชอบ น่าเสียดายที่เครื่องมือออนไลน์ต่างๆ ที่นิยมใช้กันอยู่ในทุกวันนี้ เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว มีทั้งที่เข็มงวดในความปลอดภัยเกินไปและที่ความปลอดภัยไม่ได้มาตรฐาน ด้วยเหตุนี้การแบ่งปันที่มากเกินไปของวัยรุ่นจึงจบลงกับทุกอย่างที่พวกเขาเรียกว่า “เพื่อน”
ด้วย Google+ เราต้องการช่วยวัยรุ่นสร้างการเชื่อมต่อออนไลน์อย่างมีเป้าหมาย และเราต้องการนำเสนอฟีเจอร์ที่ทำให้้เกิดความปลอดภัยควบคู่ไปกับการแสดงออก วันนี้เรากำลังทำทั้งสองสิ่งควบคู่กันไป สำหรับพวกเขาทุกคนที่มีประสบการณ์มากพอในการใช้ บัญชี Google (ตั้งแต่อายุ 13 ปีขึ้นไป
ในหลายประเทศ)
เ
ริ่มต้นอย่างปลอดภัยด้วยแวดวงของคุณ
ความแตกต่างระหว่าง “เพื่อน” “คนรู้จัก” และ “คนแปลกหน้า” เป็นสิ่งสำคัญอย่างแรก โดยเฉพาะกับวัยรุ่น Google+ มี “แวดวง” ให้ใช้เพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถจัดการกับความสัมพันธ์ต่างๆ ที่หลากหลายได้ แต่เรากำลังก้าวล้ำไปอีกขั้นหนึ่งเพื่อผู้ใช้ที่อายุน้อยกว่า
การแบ่งปันข้อมูล
ด้วย Google+ คุณสามารถแบ่งปันข้อมูลแบบเฉพาะกับคนในแวดวงของคุณ หรือแบ่งปันสาธารณะกับคนทั่วโลก การโพสต์บางอย่างให้ทุกคนเข้าถึงได้ถือเป็นเรื่องใหญ่ อย่างไรก็ตาม เมื่อกลุ่มวัยรุ่นพยายามที่จะโพสต์และแบ่งปันข้อมูลต่างๆ ออกนอกแวดวงพวกเขา เราจะแนะนำให้พวกเขาไตร่ตรองก่อนที่จะโพสต์
วัยรุ่นจะเห็นคำเตือนเมื่อเขาแบ่งปันข้อมูล “แบบสาธารณะ” หรือ “แบบแวดวงที่ขยาย”
การได้รับการแจ้งเตือน
Google+ คือสถานที่ที่เยี่ยมยอดในการเชื่อมต่อกับเพื่อนสนิท รวมทั้งการค้นพบคนอื่นๆ ที่มีความสนใจแบบเดียวกับเรา เราต้องการช่วยผู้ึคนค้นหาชุมชนต่างๆ เหล่านี้ได้อย่างปลอดภัย อย่างไรก็ตาม เราให้ผู้ใช้งานเป็นผู้ควบคุมเองว่าใครสามารถติดต่อออนไลน์กับพวกเขาได้ ที่การตั้งค่าเริ่มต้น มีเพียงคนในแวดวงเท่านั้นที่สามารถเข้ามาทักทายได้ และกันคนบางคนออกไป สามารถทำได้ด้วยการคลิกเพียงครั้งเดียวหรือสองครั้งเท่านั้น
ด้วยค่าเริ่มต้น มีเพียงคนที่อยู่ในแวดวงวัยรุ่นเท่านั้นที่สามารถพูดคุยโต้ตอบและโพสต์กับพวกเขา
Hanging out กับเพื่อนๆ
Google+ Hangouts นำคนมาพบกัน โดยการใช้ การสนทนาเป็นกลุ่มเเบบสดๆ และจัดลำดับผลจาก
heart-warming
ไปยัง
awe-inspiring
อย่างไรก็ตาม เรา้ยอมรับว่าการติดต่อแบบพบหน้ากันนั้นเป็นเรื่องที่พิเศษและจริงจัง ดังนั้นถ้าคนแปลกหน้าจากนอกแวดวงมาัร่วม hangout เราจะกันออกชั่วคราว และให้พวกเขามีโอกาสเข้ามาร่วมใหม่ได้
เสียงที่กำลัง hangout อยู่จะถูกปิด ถ้ามีคนแปลกหน้านอกแวดวงเข้ามาร่้วม hangout
ศูนย์ปกป้องความปลอดภัยบน Google+
ที่เปิดตัวล่าสุดของเรา ได้รวบรวมรายละเอียดในการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ไว้เเล้ว แต่เรายังคงมุ่งมั่น สร้างฟีเจอร์สำหรับการใช้งานอันยอดเยี่ยมที่กลุ่มวัยรุ่นต้องการอย่างเเท้จริง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมที่ปลอดภัยผ่านค่าเริ่มต้นที่เหมาะสม และความช่วยเหลือในแต่ล่ะผลิตภัณฑ์ และช่วย
ให้คุณค้นหาและใช้งานเครื่องมือการรายงานการละเมิดต่างๆ อย่างง่ายดาย
ผู้คนและเว็บที่อยู่ในใจคนหนุ่ม-สาว
ความสนุกของการแบ่งปันชีวิตจริงที่อยู่ในการเชื่อมต่อกับทุกอย่างที่เราใส่ใจ ไม่ว่าจะเป็นจากครอบครัว เพื่อนๆ ไปจนถึงธุรกิจและแบรนด์สินค้าต่างๆ วัยรุ่นก็เหมือนผู้ใหญ่ ที่สมควรได้รับประสบการณ์ออนไลน์ที่สมบูรณ์แบบ ดังนั้นในวันนี้ เรายินดีต้อนรับหน้า Google+ ของเหล่าบุคคลและองค์กรต่างๆ ที่วัยรุ่นชื่นชอบ เชื่อมโยงเป็นชุมชนให้กับพวกเขาได้ติดตาม ดังนี้
106 and Park
A Thin Line
AKB48
Ashley Tisdale
Big Time Rush
Cody Simpson
ESPN
GLEE
Greyson Chance
Google Science Fair
Harry Shum, Jr.
Hunger Games
Lea Michele
Mindless Behavior
Nickelodeon
Scotty McCreery
Selena Gomez
Shay Mitchell
Teen Vogue
The Annoying Orange
The Material Girl Collection
Victoria Justice
Young Hollywood
ระหว่างระบบการป้องกันผู้ใช้งานอย่างเข้มงวด กับ การนำเสนอข้อมูลที่วัยรุ่นสนใจ คือสิ่งที่เราหวังไว้ว่า กลุ่มวัยหนุ่มสาวเหล่านี้จะมีความรู้สึกแบบเดียวกับที่อยู่บ้าน (และมีความสนุก) ไปกับการใช้งาน Google+ ซึ่งแน่นอนว่าเรามีความเหมือนกันกับผู้ใช้รายใหม่ล่าสุดอย่างน้อยหนึ่งอย่าง นั่นคือ เราต่างก็ยุ่งอยู่กับการก้าวเดินไปข้างหน้าเช่นกัน
โดย
วิก กันโดทรา
, รองประธานอาวุโส
ร่วม +1 พลัง ฟื้นฟูโรงเรียน คืนรอยยิ้มให้น้องๆ กัน
วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2555
Google ประเทศไทย เชิญชวนพี่น้องอาสาสมัครทุกคนมาร่วมกันทำกิจกรรมฟื้นฟูโรงเรียนที่ได้รับผลกระทบจากนำ้ท่วม ใน
โครงการพลังน้ำใจไทย
ที่ช่วยกันฟื้นฟูโรงเรียนที่ประสบมหาอุทกภัย
เพื่อให้น้องๆนักเรียนสามารถกลับไปเรียนหนังสือได้ตามปกติ
ทำอะไร
ทำความสะอาดบริเวณรอบโรงเรียนและทาสีอาคารเรียนกัน
ที่ไหน
โรงเรียนวัดคลองเจ้า
อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี
เมื่อไหร่
วันเสาร์ที่ 28 มกราคม 2555 นี้ เวลา 9.00-18.00 น.
ใครสามารถร่วมได้
สำหรับผู้ที่สนใจมีส่วนร่วม กรุณา
กรอกแบบฟอร์มที่นี่
เพื่อรับการติดต่อกลับไปเกี่ยวกับสถานที่และเวลานัดพบรถที่จะพาอาสาสมัครเดินทางไปที่โรงเรียน
วัดคลองเจ้า
เรามีรถรับส่ง อาหารกลางวัน เสื้อและของที่ระลึกจาก Google ให้แก่ผู้เข้าร่วมงานค่ะ
ขอขอบคุณในการ +1 ร่วมทำความดี
โดย ทีม Google ประเทศไทย
สภาพโรงเรียนหลังน้ำท่วม
ได้โปรดอย่าปิดกั้นเว็บ
วันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2555
English
อาทิตย์นี้คุณอาจสังเกตว่าเว็บไซต์ที่เข้าไปใช้งานบ่อยๆ
ดูแปลก
ไป อย่าง
Wikipedia
ปิด
ให้บริการ และ
WordPress
หน้าจอ
ดำ Googleเองก็้เซ็นเซอร์โลโก้หน้าโฮมเพจของเรา และขอให้คุณร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการ
ยื่นคำร้องต่อสภาคองเกรส
ทำไมต้องทำ?
ตอนนี้ที่กรุง Washington D.C. สภาคองเกรสกำลังพิจารณาร่างกฎหมาย 2 ฉบับ เกี่ยวกับการเซ็นเซอร์เว็บและระเบียบข้อบังคับที่เป็นภาระสำหรับธุรกิจของชาวอเมริกัน ที่รู้จักกันในนาม
ร่างกฎหมายคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
PROTECT IP Act
(PIPA) ของวุฒิสภา และ
ร่างกฎหมายว่าด้วยการยุติการละเมิดสิทธิ์บนสื่อออนไลน์
Stop Online Piracy Act
(SOPA)
ของ
สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ
ตามรายละเอียดดังนี้
PIPA & SOPA จะเซ็นเซอร์เว็บ:
ร่าง
กฎหมายทั้งสองฉบับ
นี้จะเพิ่มอำนาจการบังคับใช้กฎหมาย ในการกลั่นกรองอินเตอร์เน็ต และการปิดกั้นการใช้เครื่องมือที่จะเข้าถึงตัวกรองเหล่่านั้น จากประสบการณ์เราทราบว่า อำนาจเหล่านี้เป็นความต้องการของระบบการปกครองที่กดขี่ทั่วโลก ทั้ง SOPA และ PIPA ยังลดกระบวนการกำจัดด้วย โดยมีรางวัลจูงใจให้บริษัทสัญชาติอเมริกันปิด บล๊อกการเข้าถึง และหยุดให้บริการของเว็บทั้งอเมริกันและต่างชาติ ที่เจ้าของลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้ากล่าวหาว่า ละเมิดโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบ หรือ หรือความสามารถในการระบุข้อผิดของเว็บนั้นๆ เพื่อให้ปรับปรุงแก้ไข
PIPA & SOPA จะทำให้เกิดควาเสี่ยงกับอุตสาหกรรมของเราในการบันทึก
นวตกรรมและงานสร้างสรรค์
ร่างกฎหมายทั้ง 2 ฉบับนี้ ทำให้การฟ้องร้องบริษัทอเมริกันได้ง่ายขึ้น ผู้ให้บริการโฆษณาบนอินเทอร์เน็ตและผู้ปฏิบัติตามกฎหมายจะเป็นเป้าหมายของพรบ. เหล่านี้ SOPA และ PIPA ยังอาจจะเป็นอันตราย (ความไม่มั่นคง) ในกำหนดข้อบังคทางเทคโนโลยีกับบริษัทที่ดำเนินธุรกิจบนอินเทอร์เน็ตของสหรัฐอเมริกา เพราะ ผู้พิพากษาจะใช้การคาดเดาการวัดค่าด้านเทคนิคที่บริษัทเหล่านี้ใช้เพื่อหยุดพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง และอาจจะมีการตัดสินที่ไม่เหมาะสมสอดคล้องกับเหตุการณ์กับบริษัทเหล่านั้น
PIPA & SOPA ไม่ได้หยุดการละเมิดสิทธิ์.
ร่างกฎหมาย 2 ฉบับนี้ไม่ได้ช่วยกำจัดเว็บไซต์ที่ละเมิดสิทธให้หมดไป เว็บที่ละเมิดสิทธิ์เพียงเเค่เปลี่ยนที่อยู่ ก็จะสามารถดำเนินกิจกรรมที่ผิดกฎหมายต่อไปได้ มีวิธีการที่ดีกว่านี้ที่จะจัดการกับการละเมิดสิทธิ์ มากกว่าการขอให้บริษัทของอเมริกาเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ต่างประเทศที่หลอกลวงทำเพื่อหารายได้ และเราเชื่อว่าหนทางที่ดีที่สุดคที่จะจัดการคือตัดตอนแหล่งเงินทุนของพวกเขา ด้วยเหตุผลนี้ Google จึงสนับสนุนทางเลือกอื่น เช่น หลักการ
OPEN Act.
การต่อสู้กับการละเมิดสิทธิ์ออนไลน์เป็นเรื่องที่สำคัญมาก เราลงทุนทั้งเวลาและเงินจำนวนมหาศาลเพื่อต่อสู้กับเรื่องนี้ ปีที่ผ่านมาเพียงปีเดียว เราได้ทำการลบเนื้อหาที่ละเมิดสิทธิ์มากกว่า 5 ล้านเว็บ และได้ลงทุนกว่า 60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในการต่อสู้กับโฆษณาที่อยู่บนเว็บที่ไม่เหมาะสม และเราคิดว่ายังมีวิธีการอีกมากที่สามารถทำได้ เช่นกำหนดเป้าหมายและพุ่งเป้าไปที่ขั้นตอนต่างๆ ในการตัดการสนับสนุนเงินทุนของเว็บไซต์จากต่างประเทศ ที่ละเมิดสิทธิ์เหล่านี้ ถ้าคุณตัดการไหลของเงินได้ ก็เท่ากับว่า คุณได้ตัดแรงจูงใจในการละเมิดสิทธิ์ไปด้วย
เพราะเราคิดว่า ยังมีทางอื่นที่ดีกว่า ที่จะไม่ทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มเติมกับเว็บ เราจึงร่วมกับ Wikipedia, Twitter, Tumblr, Reddit, Mozilla และบริษัทอินเตอร์เน็ตอีกหลายๆ แห่ง ร่วมกันออกเสียงตคัดค้าน SOPA และ PIPA และเรากำลังขอให้คุณ
ร่วมเป็นส่วนหนึงในการต่อต้าน
เพื่อร่วมกับคนอีกเป็นล้านๆ ที่ได้ยื่นเรื่องเข้าไปยังสภาคองเกรสให้พิจารณา SOPA และ PIPA ใหม่แล้ว ทั้งจากทางโทรศัพท์ หรือจดหมาย
โดย เดวิด ดรัมมอนด์, รองประธานอาวุโสฝ่าย
พัฒนาองค์กรและเจ้าหน้าที่บริหารกฎหมาย
เบ็คแฮมปั่นฟรีคิกที่ Google
วันพุธที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555
นักฟุตบอลซูเปอร์สตาร์ระดับโลก
+เดวิด เบ็คแฮม
เตรียมตัวแขวน
รองเท้าสตั๊ด
ไว้ที่บ้าน และเดินทางไป Google เพื่อสัมภาษณ์สดแบบพิเศษสุด คุณเคยคิดไหมว่าอยากจะถามอะไรกับเบ็คแฮมในแบบเป็นส่วนตัวบ้าง? โพสต์คำถามไว้บน Google+ โดยติด hashtag #GoogleBeckham บางทีเขาอาจจะตอบมันแบบสดๆ เลยก็เป็นได้!
International soccer
phenomenon
+David Beckham
is taking off his
boots
and heading to Google for an exclusive live interview. Have a question you’ve been dying to personally ask Becks? Post it on Google+ with hashtag #GoogleBeckham, and maybe he’ll answer it live!
เชิญชมการสัมภาษณ์กับเดวิด ในวันพฤหัสฯ ที่ 19 มกราคม เวลา 9.00น. (PT มาตรฐานเวลาแปซิฟิก) ได้ที่
youtube.com/atgoogletalks
และที่พิเศษกว่านั้น, สามารถร่วมแฮงค์เอาท์กับเบ็คแฮมได้โดยตรงในหน้าโปรไฟล์ Google+ ของเขา ที่เวลา 10.30 น. (PT มาตรฐานเวลาแปซิฟิก). ซึ่งคุณสามารถเพิ่มขวัญใจนักเตะคนนี้ไว้ใน
แวดวงคุณได้เเล้ว
ที่นี่
เพื่อรับทราบข่าวความเคลื่อนไหวล่าสุดเกี่ยวกับเขา
Watch the interview on Thursday, January 19 at 9am PT on
youtube.com/atgoogletalks
. And as an added bonus, hangout with him directly afterward on his Google+ profile at 10:30am PT
Add him
to your circles now for all the latest updates.
Don’t worry if you can’t make the live interview or Google+ hangout—we’ll post them to YouTube shortly after.
ไม่ต้องกังวลหากพลาดการสัมภาษณ์สดหรือแฮงค์เอาท์กับเบ็คแฮม - เพราะเราจะโพสต์ทั้งหมดนี้ไว้บน Youtube อย่างรวดเร็ว
อย่ารอช้า ร่วมส่งคำถามที่อยากถามเบ็คเเฮมมาได้บนหน้า
Google.com/+
!
So, what are you waiting for? Punt us your best questions on
Google.com/+
!
โดย แอนดรูว์ Schulte ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์
Posted by Andrew Schulte, Product Marketing Manager
สวัสดีวันครู
วันจันทร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2555
วันนี้ทุกท่านคงจะได้เห็นดูเดิลรูปนกฮูกถือไม้เรียวและดอกกล้วยไม้ที่หน้า
www.google.co.th
กันแล้วนะคะ นกฮูกนั้นเป็นสัญลักษณ์ของความฉลาดและภูมิปัญญาในวัฒนธรรมตะวันตก ส่วนดอกกล้วยไม้นั้นเป็นดอกไม้ประจำวันครูของไทย เนื่องจากธรรมชาติของดอกกล้วยไม้มีความคล้ายคลึงกับการจัดการการศึกษา ดังโคลงต่อไปนี้ของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
กล้วยไม้มีดอกช้า ฉันใด
การศึกษาเป็นไป ฉันนั้น
แต่ออกดอกทีไร งามเด่น
งานสั่งสอนปลูกปั้น เสร็จแล้ว แสนงาม
ในวันดีๆ เช่นนี้ พวกเราที่ Google ขอมอบดูเดิลให้เป็นของขวัญเพื่อร่วมกราบระลึกพระคุณครูพร้อมกับเด็กนักเรียนไทยทั่วประเทศด้วยค่ะ
เขียนโดย พัชรินทร์ อารีย์วงศ์
Google Southeast Asia
พี่เบิร์ด ธงไชย เชื่อมสังคมไทยเข้ากับเทคโนโลยี เป็นของขวัญให้น้องๆ ฉลองวันเด็กปีนี้ บน Google+
วันเสาร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2555
P’Bird Thongchai connects kids with Thai culture and technology to celebrate Children’s Day on Google+
เทคโนโลยีในวันนี้สามารถช่วยย้ำเตือนเยาวชนไทยถึงความสำคัญและความสวยงามของสังคมไทย
ไทย, ประวัติศาสตร์และ แสดงออกถึงความจงรักภักดีแด่ในหลวง อันเป็นที่รักของคนไทยได้อย่างแท้จริง วันนี้ Google ได้ร่วมฉลองวันเด็กแห่งชาติ โดยมีพี่เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ ศิลปินในดวงใจของน้องๆ พูดคุยผ่านโปรแกรมสนทนาผ่านวิดีโอกันเป็นกลุ่ม หรือ Google+ Hangouts กับน้องๆ จากทั่วประเทศ
Can technology really remind Thailand’s youth of the importance of our beautiful culture, our rich history and our beloved King? Today, Google supported a special Children’s Day celebration, joining superstar P’Bird Thongchai McIntyre for an exclusive Google+ Hangout with children from across Thailand.
หลังจากพี่เบิร์ดได้เชิญชวนน้องๆ ให้ส่งคลิปวิดีโอเสียงร้องของตนเองในบทเพลงพิเศษของพี่เบิร์ด “
ตามรอยพระราชา
” เพื่อเฉลิมพระเกียรติในหลวง ผ่านหน้า
Google+ Page
และได้คัดเลือกน้องๆ ที่มีความสามารถในการร้องเพลง ร่วมร้องเพลงออนไลน์ ผ่าน Google+ Hangouts ซึ่งสามารถรับชมคลิปวิดีโอของเหล่าซูเปอร์สตาร์ตัวน้อยๆ ที่แสนน่ารักได้จาก
Google+ page ตามรอยพระราชา
P’Bird invited Thai children to send video clips of themselves singing his song “
In His Footsteps
” in honour of H.M. King Bhumipol Adulyadej to his special
ตามรอยพระราชา Google+ Page
and a very special, talented group of young singers were selected to join him singing online via a Google+ Hangout. You can watch all the videos of these super cute mini-stars
here
ด้วยความสามารถของ Google+, ช่วยให้นักร้องตัวน้อยได้มีโอกาสพูดคุยกับพี่เบิร์ดอย่างใกล้ชิด ผ่าน
Google+ Hangouts
ซึ่งพี่เบิร์ดได้กล่าวคำขอบคุณกับน้องๆ แต่ละคนอย่างเป็นกันเอง พร้อมใช้เวลาซักถามน้องๆ ถึงความหมายของเพลง ตามรอยพระราชา และบอกให้น้องๆ ตั้งใจเรียน ใส่ใจวัฒนธรรมไทย พร้อมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของในหลวงที่มีต่อชาวไทย
With the help of Google+, these young singers had a special opportunity to chat with P’Bird directly using a
Google+ Hangout
s. P’Bird thanked each child personally and took time to ask about what they thought it meant to follow in our King’s footsteps, encouraging everyone to study hard, learn about our culture and always remember the wisdom of His Majesty in our everyday lives.
เป็นสิ่งสำคัญมากในการที่เราจะย้ำเตือนให้น้องๆ คนรุ่นใหม่ในวันนี้ ได้ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและการทุ่มเทพระวรกายของในหลวง ที่ทำสิ่งต่าง
ๆ
มากมาย เพื่อประเทศไทยและคนไทยทุกคน
ทั้งพี่เบิร์ดและทีมงานทุกคน
สามารถสัมผัสได้ถึงความรู้สึกของน้องๆ ว่าพวกเขามีความสุขเพียงใดในการร่วมกันร้องเพลงออนไลน์และส่งความปรารถนาดีทั้งหมด ไปยังในหลวง
เทคโนโลยีสามารถทำสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ในอดีตให้เป็นไปได้
แล้วในวันนี้ ด้วยการเชื่อมต่อที่ง่าย สนุก และสามารถโต้ตอบกันได้จริงๆ
It is so important that we remind today’s younger generation of the amazing life that our King has lived and the many, many good things He has done for our country and for Thai people. P'Bird and the team could see just how much these children appreciated the experience to sing online together and send their best wishes to His Majesty. We're glad that technology made it possible for us to connect in a way that’s fun, simple and really interactive.
ทีม Google ประเทศไทย ขอถือโอกาสอันดีนี้ ขอบคุณพี่เบิร์ดและทีมงานจาก GMM Grammy ทุกท่าน สำหรับการมอบประสบการณ์ครั้งสำคัญในชีวิตให้กับน้องๆ และให้โอกาส Google+ ได้ร่วมเฉลิมฉลองวันเด็กแห่งชาติ ในปี 2555 ในรูปแบบใหม่ และขอขอบคุณน้องๆ เยาวชนทุกคนเป็นพิเศษ มา ณ โอกาสนี้ด้วย
Google Thailand would like to take this opportunity to thank P’Bird and the team at GMM Grammy for giving this once-in-a-lifetime experience to these children and giving Google+ an opportunity to celebrate Children’s Day 2012 in a totally new way. We would also like to say a very special thank you to all of our young singers:
ไปแวะเยี่ยมชมความสามารถของน้องๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรม Google+ Hangouts ดังนี้
น้องๆ จาก
โรงเรียนหอวัง ม. 4/7
น้องๆ
ระดับชั้นอนุบาลโรงเรียนวัดบึงทองหลาง
ด.ญ.แพรววนิต เตรียมชาญชูชัย หรือน้องแบมแบม
(และคุณพ่อน้องแบมแบม)
น.ส.ธัญทิพย์ หงส์วานิช และ น.ส.พิมพิศา สุจริตจันทร์
น.ส. ภัทรานิษฐ์ จำปาแก้ว
ด.ญ.ชวิศา ตรีพาณิชกุล และ ด.ญ.ปัณณพร วงศ์สาระ
ด.ญ.ธนพร ปรีชาบริสุทธิกุล
,
ด.ญ.ปราญชลี แซ่หลี และ ด.ญ.วีรดา ทศพร
นายภูมิ สุคันธพันธ์ น.ส.พิชญ์สินี แผ้วสกุลพันธ์ และน.ส.เสาวลักษณ์ กุลมะโฮง
วันเด็กปีนี้ Google ขอให้น้องๆ เป็นเด็กดีของพ่อแม่ อย่าลืมฝากความรักและพูดคำว่าขอบคุณให้กับพ่อแม่ ตั้งมั่นอยู่ในความดี และจงรักภักดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์
โดย
ทีม Google ประเทศไทย
Posted by Google Thailand
Search, plus Your World เครื่องมือค้นหาใหม่, เชื่อมโยงโลกของคุณ
วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555
English
Google Search ทำหน้าที่ค้นหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุดสำหรับคุณ และบางครั้งผลลัพธ์การค้นหาที่ดีที่สุดอาจไม่ได้เป็นแบบสาธารณะ กล่าวคือ อาจเกี่ยวข้องกับเนื้อหาส่วนตัวหรือบางสิ่งที่คนใกล้ชิดแชร์ให้กับคุณ เนื้อหาส่วนตัวและบุคคลใกล้ชิดที่ว่านี้ยังคงขาดหายไปจากเครื่องมือค้นหาของคุณ โดยยังคงจำกัดอยู่ในโลกของเว็บเพจที่สร้างขึ้นแบบสาธารณะ โดยบุคคลที่คุณไม่เคยพบปะพูดคุยกันมาก่อน แต่วันนี้ เราสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วยการผสานรวมโลกของคุณที่เต็มไปด้วยผู้คนและข้อมูลเข้ากับเครื่องมือค้นหา
Search มีประสิทธิภาพอย่างมากในการค้นหาข้อมูลท่ามกลางเว็บเพจหลายพันล้านรายการ รวมไปถึงรูปภาพ วิดีโอ ข่าว และอื่นๆ อีกมากมาย แต่เห็นได้ชัดว่านั่นยังไม่เพียงพอ เพราะคุณควรจะสามารถค้นหาข้อมูลคอนเทนต์ของคุณเองบนเว็บ รวมไปถึงผู้คนที่คุณรู้จักและสิ่งต่างๆ ที่เขาแชร์ร่วมกับคุณ หรืออาจรวมถึงบางคนที่คุณยังไม่รู้จัก... ทั้งหมดนี้รวมอยู่ในช่องค้นหาเดียวกัน
เรากำลังพัฒนาปรับปรุง Google ให้กลายเป็นเสิร์ชเอนจิ้น (Search Engine) หรือเครื่องมือค้นหาที่เข้าใจเนื้อหาคอนเทนต์ รวมถึงผู้ค้นและความสัมพันธ์ต่างๆ เราเริ่มต้นการพัฒนาปรับปรุงนี้ด้วย
Social Search
และวันนี้เรากำลังก้าวหน้าไปอีกขั้นในทิศทางดังกล่าวกับ 3 ฟีเจอร์ใหม่ล่าสุด
ผลลัพธ์ส่วนบุคคล
ช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลพิเศษสำหรับคุณโดยเฉพาะ เช่น โพสต์และภาพถ่ายบน Google+ ทั้งส่วนที่เป็นของคุณเองและส่วนที่คนอื่นๆ แชร์ให้แก่คุณ และมีเพียงคุณเท่านั้นที่จะเห็นบนหน้าผลลัพธ์การค้นหา
โปรไฟล์ในการค้นหา
ทั้งในส่วนเติมข้อความอัตโนมัติและผลลัพธ์การค้นหา ซึ่งช่วยให้คุณค้นหาคนใกล้ชิดหรือคนที่คุณอาจสนใจที่จะติดตาม และ
บุคคลและหน้าเพจ
ช่วยคุณค้นหาโปรไฟล์ของบุคคลและหน้า Google+ page ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเฉพาะหรือหัวข้อที่คุณสนใจ โดยช่วยให้คุณติดตามบุคคลเหล่านี้ได้อย่างง่ายดายเพียงคลิกเมาส์ไม่กี่ครั้ง เพราะเบื้องหลังคำค้นหาก็คือชุมชน
ทั้งหมดของฟีเจอร์เหล่านี้ ได้ผสานรวมกลายเป็น
เครื่องมือค้นหาใหม่ที่เชื่อมโยงโลกของคุณ
(Search plus Your World)
Search ปรับปรุงดีขึ้นด้วยการรวมเข้ากับโลกของคุณ และเราเพิ่งจะเริ่มต้นการพัฒนาเครื่องมือใหม่นี้
ผลลัพธ์ส่วนบุคคล
สมมติว่าคุณกำลังมองหาสถานที่ท่องเที่ยวสำหรับช่วงวันหยุด แน่นอนว่าคุณสามารถค้นหาข้อมูลในเว็บได้ แต่จะทำอย่างไรถ้าคุณต้องการเรียนรู้ประสบการณ์จากคนใกล้ชิดสำหรับสถานที่นั้น? เช่นเดียวกับในชีวิตจริง ประสบการณ์ของเพื่อนย่อมจะมีความหมายมากกว่าเมื่อเทียบกับข้อมูลทั่วไปบนเว็บ เพียงแค่เชื่อมต่อโลกของคุณกับการค้นหา ก็จะพบกับประสบการณ์จากเพื่อนๆ คุณได้โดยตรง
ข้อความโพสต์บน Google+
คุณสามารถค้นหาโพสต์ Google+ ที่เกี่ยวข้องจากเพื่อนๆ ที่พูดคุยกันเกี่ยวกับการเดินทางที่น่าประทับใจ ไม่ว่าเขาจะบอกเล่าแก่คุณเพียงลำพังหรือร่วมกับคนอื่นๆ คุณจะพบลิงค์ที่เพื่อนของคุณแชร์ให้ เช่น กิจกรรม ร้านอาหาร และสิ่งอื่นๆ ที่เขาชื่นชอบในทริบนั้นของพวกเขา
ภาพถ่าย
คุณจะสามารถค้นหาภาพถ่ายสวยๆ จากการเที่ยวพักผ่อนวันหยุดของเพื่อนๆ ในหน้าผลลัพธ์การค้นหาของคุณ และคุณสามารถค้นหาภาพถ่ายส่วนตัวของคุณเองจาก Google+ และ Picasa โดยอ้างอิงคุณสมบัติต่างๆ เช่น คำอธิบายภาพ, ความคิดเห็น และชื่ออัลบั้ม
เรื่องราวส่วนตัว
เมื่อสมัยที่ยังเป็นเด็ก ผลไม้ที่ผมโปรดปรานมากที่สุดคือ
ละมุด
(Chikoo) ซึ่งมีรสหวานอร่อย และเมื่อ 2-3 ปีที่แล้ว ครอบครัวเราได้รับเลี้ยงลูกหมาตัวหนึ่ง และก็ตั้งชื่อมันตามชื่อผลไม้ที่ผมชื่นชอบ ตลอดหลายปีผ่านมา เราได้แชร์ภาพถ่ายมากมายของละมุด (สุนัขของเรา) ให้แก่ญาติพี่น้อง สำหรับผมวันนี้ คำว่า [ละมุด] มีความหมายสองอย่างที่แตกต่างกัน และการพัฒนาในวันนี้ ก็ได้มอบประสบการณ์ที่แสนวิเศษ เพราะผมจะพบกับละมุดทั้ง 2 ที่ผมรัก ในหน้าผลลัพธ์การค้นหา
นี่คือเครื่องมือค้นหาที่รู้จักตัวผมอย่างแท้จริง
และมอบผลการค้นหาที่มีเพียงผมเท่านั้นที่สามารถดูได้
และขณะเดียวกันผมก็ได้รับผลลัพธ์การค้นหาทั้งแบบส่วนตัวและจากเว็บ ซึ่งผมยังสามารถคลิกที่ลิงค์ด้านบนสุดของหน้าผลการค้นหา (ลูกศรสีแดง) สำหรับเลือกค้นหาเฉพาะภายในโลกของผมเท่านั้น
โปรไฟล์ในการค้นหา
ในแต่ละวัน มีการค้นหาหลายร้อยล้านรายการเกี่ยวกับผู้คน แต่บางครั้งเป็นเรื่องยากที่จะค้นหาบุคคลที่คุณต้องการ และเมื่อพบเขาหรือหล่อนเเล้ว ยังไม่มีช่องทางที่คุณจะสื่อสารกับบุคคลนั้นๆ ได้อย่างรวดเร็ว
แต่วันนี้ เป็นไปได้แล้ว คุณจะมีหนทางที่เหมาะสมสำหรับติดต่อสื่อสารกับผู้คนได้ทันที ได้จากหน้าผลการค้นหาโดยตรง
ตอนนี้ หากคุณพิมพ์ชื่อเพื่อนคุณด้วยตัวอักษรเพียง 2-3 ตัวแรก จะมีการเรียกใช้การคาดการณ์โปรไฟล์ ที่
ปรับแต่งให้เข้ากับบุคคล
ในส่วนเติมข้อความอัตโนมัติ เมื่อคุณเลือกโปรไฟล์ที่คาดการณ์ คุณก็จะไปยังหน้าแสดงผลการค้นหาของเพื่อนๆ คุณ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลจากโปรไฟล์ Google+ และผลการค้นหาบนเว็บที่เกี่ยวข้องกับเพื่อนๆ ของคุณ พร้อมประสบการณ์แบบส่วนตัวนี้ส่งถึงคุณอย่างฉับพลันทันทีด้วย Google Instant เช่น เมื่อผมค้นหาคำว่า [ben smith] ใน Search+ ผมจะพบกับเบน เพื่อนสนิทของผมทุกครั้ง แทนที่จะเป็นเบน สมิธ อื่นๆ หลายร้อยคนทั่วโลก
นอกจากนี้ ยังมีการเติมข้อความอัตโนมัติสำหรับโปรไฟล์ของบุคคลที่มีชื่อเสียงจาก Google+ เช่น นักเขียนชื่อดัง จากโครงการนำร่องสำหรับนักเขียน (
authorship pilot program
) ของเรา
เมื่อคุณเลือกโปรไฟล์ดังกล่าว โดยลงชื่อเข้าสู่ระบบ Google+ ด้วยเเล้ว คุณจะเห็นปุ่มสำหรับเพิ่มบุคคลเหล่านี้ไว้ในแวดวงของคุณ โดยปุ่มที่ว่านี้อยู่ในหน้าแสดงผลการค้นหานั่นเอ
ง
บุคคลและหน้าเพจ
ตามที่กล่าวตอนต้น สิ่งที่อยู่เบื้องหลังการค้นหานั้นคือ ชุมชน ซึ่งเริ่มเเล้ววันนี้ ถ้าคุณค้นหาหัวข้ออย่างเช่น [เพลง] หรือ [เบสบอล] คุณอาจพบเจอรายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงซึ่งพูดคุยเกี่ยวกับหัวข้อนี้เป็นประจำบน Google+ ปรากฏอยู่ทางด้านขวามือของหน้าแสดงผลการค้นหา คุณสามารถเชื่อมต่อกับบุคคลเหล่านี้ได้บน Google+ พร้อมทั้งพูดคุย และเข้าร่วมในชุมชนทั้งหมดในลักษณะที่ง่ายดายอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
ความปลอดภัย ความโปร่งใส และการควบคุมที่คาดไม่ถึง
ในเรื่องความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว เรากำหนดมาตรฐานไว้สูงมากสำหรับ Search plus Your World เนื่องจากข้อมูลจำนวนมากที่คุณพบในผลการค้นหา รวมถึงโพสต์และภาพถ่ายส่วนตัวใน Google+ ที่ได้รับการปกป้องด้วย
การเข้ารหัส SSL
บน Google+ ดังนั้นเราจึงตัดสินใจว่าผลการค้นหานี้ ควรจะมีการปกป้องความเป็นส่วนตัวในระดับเดียวกัน นั่นคือเหตุผลว่าทำไมเราจึงเป็นเสิร์ชเอนจิ้นแรกสุดที่
เปิดการค้นหา SSL ตามค่าเริ่มต้นสำหรับผู้ใช้ที่ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
เมื่อปีที่แล้ว นั่นหมายความว่าเมื่อคุณลงชื่อเข้าใช้ Google ทั้งผลการค้นหา รวมถึงเนื้อหาส่วนตัวของคุณ จะได้รับการปกป้องโดยการเข้ารหัสที่เป็นมาตรฐานสูงสุดในระดับเดียวกับ ข้อความต่างๆ ใน Gmail
เราต้องการรักษาความโปร่งใสเกี่ยวกับลักษณะการทำงานของฟีเจอร์ต่างๆ และเปิดโอกาสให้คุณได้ควบคุมวิธีการใช้ฟีเจอร์เหล่านี้ การเปลี่ยนแปลงในวันนี้
เราได้จัดหาองค์ประกอบของหน้าอินเตอร์เฟซและการตั้งค่าการควบคุมเป็นแบบเดียวกับที่คุณพบใน Google+
ตัวอย่างเช่น ผลการค้นหาส่วนบุคคลจะถูกระบุอย่างชัดเจนว่าเป็นแบบสาธารณะ (Public), จำกัด (Limited) หรือแค่คุณ (Only you) นอกจากนี้ การค้นหาบุคคลก็สอดคล้องกับ Google+ เช่นกัน รวมถึงแวดวงที่ระบุอย่างชัดเจน และความเกี่ยวข้องที่แนะนำ
นอกจากนั้น มีการตั้งค่าใหม่ที่มุมบนขวาของหน้าแสดงผลลัพธ์การค้นหา ซึ่งคุณจะเห็นว่าผลการค้นหาจะมีลักษณะอย่างไรเมื่อไม่มีเนื้อหาส่วนบุคคล คลิกเมาส์เพียงครั้งเดียว ผลการค้นหาที่ไม่มีการปรับแต่งตามบุคคลก็จะปรากฎขึ้น
นั่นหมายความว่าจะไม่มีผลการค้นหาจากเพื่อนๆ ของคุณ ไม่มีข้อมูลส่วนตัว และไม่มีการปรับแต่งผลการค้นหาตาม
Web History
ของคุณ ปุ่มสลับนี้ใช้การได้สำหรับการค้นหาส่วนบุคคล แต่คุณก็สามารถปรับให้เป็นแบบเดิมได้ใน
Search Settings
ของคุณ เราเปิดโอกาสให้คุณสามารถควบคุมและตั้งค่าต่างๆ สำหรับ
contextual signals we use
เช่น ตำแหน่งที่ตั้ง และภาษา
นั่นคือความโปร่งใสและการควบคุมที่เหนือชั้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนสำหรับผลการค้นหา
การเดินทางที่สวยงามเริ่มต้นแล้ว
Search plus Your World จะพร้อมใช้งานในอีกไม่กี่วันข้างหน้าสำหรับผู้ใช้ที่ล็อกอินและทำการค้นหาบน
https://www.google.com
เป็นภาษาอังกฤษ
ขณะที่ประชากรโลกมีมากถึง 7 พันล้านคน และมีพื้นที่กว้างขวางถึง 197 ล้านตารางไมล์บนโลกของเรา อีกทั้งยังมีดวงดาวมากมายนับไม่ถ้วน และมีเว็บเพจหลายล้านล้านเพจ แต่เราใช้ชีวิตสั้นๆ ที่มีค่าในเมืองเมืองหนึ่ง ร่วมกับเพื่อนๆ และครอบครัว โดยโลกของเราโคจรรอบดวงอาทิตย์เพียงดวงเดียว และเราพึ่งพาเพียงเศษเสี้ยวเล็กๆ ของข้อมูลจำนวนมหาศาลที่มีอยู่ทั่วโลก ความฝันของเราคือการสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่จะช่วยให้มนุษย์ได้สัมผัสกับข้อมูลและผู้คนรอบตัวได้อย่างลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น
เราตั้งชื่อบริษัทของเราตามคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์ว่า กูกอล (
Googol
) ซึ่งหมายถึงจำนวนมหาศาลจำนวนหนึ่ง เพราะเรามุ่งหวังที่จะจัดทำดัชนีสำหรับคำตอบมากมายนับไม่ถ้วนบนเว็บเพจ แต่นั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภาพรวมเท่านั้น อีกส่วนที่เหลือก็คือ
ผู้คน
และนั่นเองคือที่มาของ Search plus Your World
โพสต์โดย อามิท ซิงฮาล ผู้เชี่ยวชาญของกูเกิล
ป้ายกำกับ
+1
2
#10YearsofYouTube
28
#2013 in Search
2
3D city maps
1
การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก
1
การค้นหา
1
การปิดกั้นโฆษณา
1
คลาวด์
1
คู่มือโมบายส์
1
โครงการภาษาที่ใกล้จะสูญหาย
1
โซเชียลแพลทฟอร์ม
1
ไซต์ไกสต์
1
เดวิด เบ็คแฮม
1
ตามรอยพระราชา
1
ทูตนักศึกษาของ Google
1
ธุรกิจไทยโกออนไลน์
2
ธุรกิจไทย GO ONLINE
2
นโยบายความเป็นส่วนตัว
1
นโยบายด้านความเป็นส่วนตัว
1
นานาน่ารู้
1
ประเทศไทย
1
ปรากฎการณ์ทางดนตรี
1
พี่เบิร์ด - ธงไชย แมคอินไตย์
2
ภาษาพม่า
1
ภาษาลาว
1
มือถือ
1
โมบายส์แอพ
1
ยอดคุณแม่ยุคไอที
1
รามเกียรติ์
1
รามายณะ
1
รายงานความโปร่งใส
1
ลอนดอนเกมส์ 2012
1
ลิขสิทธิ์
1
ลิขสิทธิ์ในการค้นหา
1
วันครู
1
วันเด็กไทย
2
วันปีใหม่ไทย
1
วันพืชมงคล
1
#วันภาษาไทยแห่งชาติ
1
วันสงกรานต์
1
วันแห่งการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
1
วันแห่งความรัก
1
วันเเม่เเห่งชาติสากล
1
วาเลนไทน์
1
วิดีโอแชท
1
ศิลปิน K-Pop
1
#สตรีทวิว
5
อินเทอร์เน็ต
1
แฮงเอาท์
1
access
1
AdMob
1
AdSense feature
1
AdSense Payment
1
#adsleaderboard #leaderboard #thailand
1
advertising
2
AdWords
6
#AdWords #webinar #GoogleAdWords
1
AdWords Weekly Update
13
After School
1
agency
1
AI
17
Amit Singhal
1
Android
11
Android Games
1
#AndroidOne
1
Android Security
1
Andy Rubin
1
Antarctica
1
Apps for EDU
3
artists
1
Bard
5
Beast
1
Be Internet Awesome
2
#Birthday
2
#BKKvote #เลือกตั้ง #ผู้ว่ากรุงเทพฯ #vote
1
black hat webspam
1
Brands
1
Build The Memory
1
Burmese
1
CBS
1
Censorship
1
Child Protection
1
Children's Day
1
#ChildrensDay2013
1
Chrome
10
Chromebooks
1
#Chromebooks #GoogleTH
1
Chrome. #chromies
1
Chrome experiments
2
Chrome for Android
2
Chrome Web Lab
1
Chrome Web Store
2
#Chromies
3
Chulalongkorn Business School
1
Cloud
2
Cloud Computing
1
Computer Crimes Act
1
Consumer Product
2
Cool IT
1
Copyright
1
Cotto
1
creators
2
#CreatorsForChange
1
Crisis Response
4
Culture
7
#DatallyByGoogle
2
David Beckham
1
Developers
4
DevFest
1
digital creativity
1
Digital insights
2
Disaster Relief
5
Display Ads Builder
1
Diversity and Inclusion
3
Doodle
1
doodle 4 google
5
Drive
1
Education
4
Employment
1
Endangered Languages Project
1
Entrepreneurs
1
Environment
1
Evolution of Search
2
Family Safety
3
favourite places
1
#FilesGo
1
Flights and Hotels
3
forms
1
Freedom of expression
2
free Internet
1
g|thailand
1
Gadgets
1
Galapagos
1
game
1
#gappschallenge
1
GASP
1
GCP
1
GDG
1
geberative AI
1
Gemini
6
Get You Google Back
1
#Gmail
7
#Gmailtips
3
GMM Grammy
1
Go Google
1
GoMo
3
Go Mobile
3
#GoMoTH
2
Good To Know
1
Google
7
Google+
23
Google+ ใหม่
1
Google+ แฮงเอาท์
1
Google+ for business
1
Google+ for iPad
1
Google+ for iPhone
2
Google+ Mobile Website
1
Google ข่าวสาร
1
Google ไดรฟ์
1
Google แปลภาษา
2
Google แผนที่
10
Google แผนที่สำหรับไอโฟน
1
Google เพื่อการศึกษา
1
Google สตรีทวิว
2
Google Ads
3
Google AdSense
5
google adwords
28
google alerts
1
Google Ambassador Program
1
Google Analytics
2
Google Apps
3
Google Apps เพื่อการศึกษา
1
Google Apps สำหรับการศึกษา
2
Google Apps Developer Challenge
2
Google Apps for Education
3
Google Apps For NGOs
1
Google Art Project
2
Google Arts and Culture
3
Google Arts & Culture
3
Google Assistant
3
Google Campus Ambassador
1
#GoogleCardboard
1
Google Certification Program
1
google chrome
13
Google Classroom
2
Google Cloud
4
Google Cloud Summit
1
Google Cultural Institute
1
Google Currents
1
Google Display Network
2
Google Docs
1
#Google Doodle
10
Google Drive
4
google earth
9
Google Earth for mobile
1
Google EDU
1
Google Engage
1
Google Flights
1
#GoogleForEducation
1
Google for Entrepreneurs
1
Google For Non-Profits
1
#Google #GoogleTH #GoogleTranslate
1
#Google #GoogleTH #GoogleTranslate #loveyourlanguage
3
Google Guru
1
Google Handwrite
3
Google Health
1
Google in Asia
3
#Google #IndoorMaps #GoogleMaps #Thailand #Shopping
1
Google Keep
1
Google Lens
1
#Googlelovesmom #GoogleTH #YouTubeTH
1
google maps
45
#GoogleMaps
8
Google Maps for iOS
3
Google Maps for iPhone
1
#GoogleMaps #GoogleTH
2
Google Maps on Android
2
Google Maps on mobile
1
Google Meet
1
Google My Business
1
googlenew
1
Google News
2
Google News Initiative
1
Google Now
1
Google One
1
Google.org
1
Google Photography Prize
1
Google Play
8
Google Play Games
1
#GooglePlayNewsstand
1
Google Play Protect
1
Google Plus
6
Google Plus Pages
3
Google Scholarship
1
Google Search
31
Google Shopping
2
Google Station
1
Google Street Roo
1
#GoogleStreetView
1
#GoogleStreetview #GoogleTH
2
Google Student Ambassadors
1
google summer of code
1
#GoogleTH
5
#GoogleTH #Gmail
1
#GoogleTH #GoogleMaps #LocalGuides
1
#GoogleTH #GoogleStreetView
1
#GoogleTH #GoogleStreetView #GoogleTourismTH
1
#Googleth #Yearinsearch2015
1
Google Trader
1
Google Transit
2
Google Translate
6
#GoogleTranslateCommunity
2
Google Trends
5
#GoogleTrends #GoogleTH
1
Google TV
1
#googleupdate
1
Google Voice Search
1
Google Wallet
1
Google Workspace
4
#Google Zeitgeist
2
Googlies Award
1
Go Online
1
Grand Canyons
1
Greenpeace
1
Grow with Google
2
G Suite
1
GTBO
1
#gthailand
1
GTUG
1
hackathon
1
Hangouts
5
#HBDChrome
4
#HBDYouTube
15
#HBDYouTubeTH
15
How Search Works
1
HTML5
1
#iconicaudition
2
Iconic Online Audition
1
#IconicRecords
1
igoogle
1
Independent learning
1
INFINITE
1
Innovation Idols
1
#InnovationTH
1
Innovation Thailand
1
Innovation Thailand Report
1
insights for search
4
Internet
1
Internet economy
1
iOS
1
iPhone
1
IPv6
1
Japan Earthquake
1
Jobs
1
#kidday2013
1
King's Birthday
1
Knowledge Graph
1
K-Pop
1
languages
2
Laos
1
Launchpad Accelerator
2
Made on YouTube
1
#MarioMaps
1
#MFUgoesGoogle
1
Milan Design Week
1
mobile
4
mobile games
1
Mobile World Congress
1
mobilised website
1
mobilized website
1
moonshot
1
moonshot thinking
1
#morethanamap
1
Mother's Day
1
Mum
1
Myanmar
1
My Places
1
Nelson Mandela
1
Nelson Mandela Archives
1
Nelson Mandela Centre of Memory
1
New AdSense Interface
1
new look Google+
1
new year resolutions
1
Next Billion Users
6
Nexus
1
Online for Floods
1
online marketing
1
open Internet
1
OTPC
1
PC
1
Personal Search
1
#PhotoSpheres
1
Photo Tours
1
PIPA
1
#prideforeveryone #YouTubeTH
1
privacy
5
privacy policy
3
Product Launch
2
products and features
1
#ProudToBe #YouTubeTH
2
#racer
1
Ramayana
1
Reseller
1
#Review
1
#RISE
1
RISE Awards
1
#rollit
1
Royal Ploughing Ceremony
1
Safer Internet Day
2
Safe Search
1
Safety and Security
17
Safety Center
1
Search
3
search engine optimization
1
Search Plus Your World
1
Security
1
SEO
1
Shorts
4
#SID2013
1
SISTAR
1
smartphone
1
sme
1
#solveforx
1
Sonkran
1
SOPA
1
South Pole
1
#StarWars
1
#StreetView
4
Sustainability
2
teacher's day
1
#techforgood
3
Technology For Good
2
Thailand
1
Thai Language
2
Thai New Year
1
thai.ramaya.na
1
The Mobile Playbook
1
#thenextbillion
1
Think รายไตรมาส
2
Think Quarterly
2
#Trafficking
1
transparency
1
Transparency Report
1
Trekker
2
Trends
1
Tsunami
1
Valentine's Day
1
virtual keyboard
1
Voice Search
2
Wear OS
1
weather
1
Webmaster
2
webspam
1
Web Speech API
1
#weloveGmail
1
Western Union
1
white hat SEO
1
Windows 8
1
World Press Freedom Day
1
World Wonders
2
#YearInSearch
3
#Yearinsearch2016 #GoogleTH
1
#YearInSearch2017
1
#YearInSearch2018
1
#YearInSearch2019
1
#youtube
4
YouTube
4
YouTube Ads Leaderboard
1
YouTube Creators for Change
1
YouTube Go
2
YouTube Kids
1
YouTube on iOS
1
#YouTubePopUpSpace
1
YouTube Rewind
1
#YouTubeRewind #YouTubeTH
2
#YouTubeRunForUNHCR
1
YouTube Shorts
6
#YouTubeTH
33
#YouTube #YouTubeTH
1
#YTFF
1
Zeitgeist
3
บทความที่ผ่านมา
2024
กันยายน
ก.ย. 30
ก.ย. 19
สิงหาคม
ส.ค. 29
กรกฎาคม
ก.ค. 26
มิถุนายน
มิ.ย. 06
พฤษภาคม
พ.ค. 29
พ.ค. 15
พ.ค. 02
เมษายน
เม.ย. 30
เม.ย. 24
เม.ย. 03
มีนาคม
มี.ค. 29
มี.ค. 28
มี.ค. 19
กุมภาพันธ์
ก.พ. 29
ก.พ. 09
ก.พ. 07
ก.พ. 06
ก.พ. 02
มกราคม
ม.ค. 10
2023
ธันวาคม
ธ.ค. 14
ธ.ค. 08
ธ.ค. 07
พฤศจิกายน
พ.ย. 17
พ.ย. 15
พ.ย. 08
ตุลาคม
ต.ค. 25
ต.ค. 19
ต.ค. 18
กันยายน
ก.ย. 27
ก.ย. 22
ก.ย. 21
ก.ย. 19
ก.ย. 11
สิงหาคม
ส.ค. 31
ส.ค. 30
ส.ค. 08
ส.ค. 04
ส.ค. 02
กรกฎาคม
ก.ค. 24
ก.ค. 13
มิถุนายน
มิ.ย. 12
มิ.ย. 06
พฤษภาคม
พ.ค. 11
พ.ค. 02
เมษายน
เม.ย. 26
เม.ย. 11
มีนาคม
มี.ค. 31
มี.ค. 29
มี.ค. 15
มี.ค. 08
มี.ค. 03
กุมภาพันธ์
ก.พ. 27
ก.พ. 24
ก.พ. 20
ก.พ. 09
ก.พ. 07
มกราคม
ม.ค. 18
ม.ค. 12
2022
ธันวาคม
ธ.ค. 06
ธ.ค. 02
ธ.ค. 01
พฤศจิกายน
พ.ย. 22
พ.ย. 18
พ.ย. 15
พ.ย. 10
พ.ย. 09
พ.ย. 02
ตุลาคม
ต.ค. 27
ต.ค. 25
ต.ค. 21
ต.ค. 12
ต.ค. 05
กันยายน
ก.ย. 29
ก.ย. 21
ก.ย. 09
สิงหาคม
ส.ค. 25
กรกฎาคม
ก.ค. 25
มิถุนายน
มิ.ย. 27
พฤษภาคม
พ.ค. 24
เมษายน
เม.ย. 28
เม.ย. 27
เม.ย. 26
เม.ย. 19
มีนาคม
มี.ค. 31
มี.ค. 24
มี.ค. 08
กุมภาพันธ์
ก.พ. 22
ก.พ. 17
ก.พ. 16
ก.พ. 11
ก.พ. 10
ก.พ. 07
ก.พ. 02
มกราคม
ม.ค. 26
ม.ค. 25
2021
ธันวาคม
ธ.ค. 16
ธ.ค. 08
ธ.ค. 02
ธ.ค. 01
พฤศจิกายน
พ.ย. 02
ตุลาคม
ต.ค. 28
กันยายน
ก.ย. 30
ก.ย. 29
ก.ย. 21
ก.ย. 16
สิงหาคม
ส.ค. 23
ส.ค. 18
ส.ค. 09
ส.ค. 05
กรกฎาคม
ก.ค. 29
ก.ค. 13
มิถุนายน
มิ.ย. 24
มิ.ย. 14
มิ.ย. 02
พฤษภาคม
พ.ค. 19
เมษายน
เม.ย. 22
มีนาคม
มี.ค. 17
มี.ค. 16
มี.ค. 11
มี.ค. 08
มี.ค. 03
กุมภาพันธ์
ก.พ. 24
ก.พ. 17
ก.พ. 09
ก.พ. 02
มกราคม
ม.ค. 26
ม.ค. 11
2020
ธันวาคม
ธ.ค. 09
พฤศจิกายน
พ.ย. 10
พ.ย. 02
ตุลาคม
ต.ค. 30
ต.ค. 06
ต.ค. 02
ต.ค. 01
กันยายน
ก.ย. 29
สิงหาคม
ส.ค. 27
ส.ค. 12
ส.ค. 05
กรกฎาคม
ก.ค. 31
ก.ค. 15
ก.ค. 09
มิถุนายน
มิ.ย. 25
มิ.ย. 23
มิ.ย. 15
มิ.ย. 11
พฤษภาคม
พ.ค. 21
พ.ค. 19
พ.ค. 15
เมษายน
เม.ย. 30
เม.ย. 29
เม.ย. 16
เม.ย. 13
เม.ย. 10
เม.ย. 08
เม.ย. 06
มีนาคม
มี.ค. 31
มี.ค. 27
มี.ค. 26
มี.ค. 25
มี.ค. 20
มี.ค. 19
มี.ค. 17
มี.ค. 16
มี.ค. 12
กุมภาพันธ์
ก.พ. 17
ก.พ. 14
ก.พ. 12
ก.พ. 06
มกราคม
ม.ค. 29
ม.ค. 14
ม.ค. 08
ม.ค. 07
2019
ธันวาคม
ธ.ค. 11
ธ.ค. 06
ธ.ค. 03
พฤศจิกายน
พ.ย. 22
พ.ย. 14
พ.ย. 06
ตุลาคม
ต.ค. 31
ต.ค. 21
กันยายน
ก.ย. 29
ก.ย. 26
ก.ย. 20
ก.ย. 17
ก.ย. 10
สิงหาคม
ส.ค. 30
ส.ค. 28
ส.ค. 21
ส.ค. 20
ส.ค. 08
ส.ค. 01
กรกฎาคม
ก.ค. 30
ก.ค. 24
ก.ค. 22
ก.ค. 11
ก.ค. 04
มิถุนายน
มิ.ย. 26
มิ.ย. 18
มิ.ย. 07
มิ.ย. 06
พฤษภาคม
พ.ค. 31
พ.ค. 15
เมษายน
เม.ย. 17
มีนาคม
มี.ค. 26
กุมภาพันธ์
ก.พ. 20
ก.พ. 15
ก.พ. 05
ก.พ. 04
มกราคม
ม.ค. 14
ม.ค. 04
2018
ธันวาคม
ธ.ค. 18
ธ.ค. 13
ธ.ค. 12
ธ.ค. 08
พฤศจิกายน
พ.ย. 27
พ.ย. 12
พ.ย. 09
ตุลาคม
ต.ค. 24
ต.ค. 22
ต.ค. 16
ต.ค. 15
ต.ค. 11
ต.ค. 09
กันยายน
ก.ย. 29
ก.ย. 28
ก.ย. 27
ก.ย. 24
ก.ย. 18
ก.ย. 17
ก.ย. 13
ก.ย. 12
สิงหาคม
ส.ค. 28
ส.ค. 16
กรกฎาคม
ก.ค. 18
มิถุนายน
มิ.ย. 28
มิ.ย. 27
มิ.ย. 26
มิ.ย. 22
มิ.ย. 13
มิ.ย. 05
พฤษภาคม
พ.ค. 23
พ.ค. 16
พ.ค. 11
พ.ค. 08
เมษายน
เม.ย. 17
มีนาคม
มี.ค. 26
มี.ค. 14
มี.ค. 10
กุมภาพันธ์
ก.พ. 27
ก.พ. 23
ก.พ. 16
มกราคม
ม.ค. 30
ม.ค. 18
2017
ธันวาคม
ธ.ค. 13
ธ.ค. 12
ธ.ค. 07
ธ.ค. 06
ธ.ค. 01
พฤศจิกายน
พ.ย. 30
ตุลาคม
ต.ค. 13
กันยายน
ก.ย. 29
ก.ย. 28
ก.ย. 25
ก.ย. 21
ก.ย. 20
ก.ย. 05
สิงหาคม
ส.ค. 29
ส.ค. 28
ส.ค. 25
ส.ค. 17
ส.ค. 11
ส.ค. 08
ส.ค. 06
ส.ค. 02
กรกฎาคม
ก.ค. 27
ก.ค. 26
ก.ค. 17
ก.ค. 06
มิถุนายน
มิ.ย. 27
มิ.ย. 08
พฤษภาคม
พ.ค. 31
พ.ค. 24
มีนาคม
มี.ค. 31
มี.ค. 22
มี.ค. 09
มี.ค. 08
กุมภาพันธ์
ก.พ. 24
ก.พ. 07
มกราคม
ม.ค. 26
ม.ค. 25
ม.ค. 20
ม.ค. 16
2016
ธันวาคม
ธ.ค. 19
ธ.ค. 16
ธ.ค. 14
ธ.ค. 08
ธ.ค. 06
พฤศจิกายน
พ.ย. 30
พ.ย. 22
พ.ย. 16
พ.ย. 08
พ.ย. 07
พ.ย. 04
ตุลาคม
ต.ค. 25
ต.ค. 04
กันยายน
ก.ย. 29
ก.ย. 26
ก.ย. 15
ก.ย. 01
สิงหาคม
ส.ค. 25
ส.ค. 19
ส.ค. 16
ส.ค. 10
ส.ค. 05
ส.ค. 02
กรกฎาคม
ก.ค. 27
ก.ค. 15
มิถุนายน
มิ.ย. 30
มิ.ย. 28
มิ.ย. 27
มิ.ย. 24
มิ.ย. 23
มิ.ย. 22
พฤษภาคม
พ.ค. 26
พ.ค. 12
พ.ค. 04
เมษายน
เม.ย. 22
มีนาคม
มี.ค. 29
มี.ค. 28
มี.ค. 11
มี.ค. 08
2015
ธันวาคม
ธ.ค. 22
ธ.ค. 16
ธ.ค. 09
ธ.ค. 04
พฤศจิกายน
พ.ย. 24
พ.ย. 20
พ.ย. 16
กันยายน
ก.ย. 28
ก.ย. 25
ก.ย. 18
ก.ย. 16
ก.ย. 10
ก.ย. 01
สิงหาคม
ส.ค. 20
ส.ค. 11
ส.ค. 05
ส.ค. 04
กรกฎาคม
ก.ค. 29
ก.ค. 14
มิถุนายน
มิ.ย. 30
มิ.ย. 25
มิ.ย. 24
มิ.ย. 12
มิ.ย. 08
มิ.ย. 05
มิ.ย. 02
พฤษภาคม
พ.ค. 30
พ.ค. 29
พ.ค. 28
พ.ค. 24
พ.ค. 23
พ.ค. 22
พ.ค. 21
พ.ค. 20
พ.ค. 19
พ.ค. 18
พ.ค. 17
พ.ค. 16
พ.ค. 15
พ.ค. 14
พ.ค. 13
พ.ค. 12
พ.ค. 11
พ.ค. 10
พ.ค. 09
พ.ค. 08
พ.ค. 07
พ.ค. 01
เมษายน
เม.ย. 30
เม.ย. 29
เม.ย. 10
เม.ย. 01
มีนาคม
มี.ค. 23
มี.ค. 19
มี.ค. 17
มี.ค. 05
กุมภาพันธ์
ก.พ. 26
ก.พ. 25
ก.พ. 23
ก.พ. 21
ก.พ. 20
มกราคม
ม.ค. 30
ม.ค. 15
2014
ธันวาคม
ธ.ค. 23
ธ.ค. 17
ธ.ค. 16
ธ.ค. 11
ธ.ค. 10
ธ.ค. 04
ตุลาคม
ต.ค. 09
กันยายน
ก.ย. 15
ก.ย. 12
ก.ย. 10
ก.ย. 05
สิงหาคม
ส.ค. 14
ส.ค. 13
ส.ค. 08
กรกฎาคม
ก.ค. 08
ก.ค. 02
มิถุนายน
มิ.ย. 27
มิ.ย. 26
มิ.ย. 20
มิ.ย. 12
มิ.ย. 11
มิ.ย. 09
มิ.ย. 06
พฤษภาคม
พ.ค. 30
พ.ค. 29
พ.ค. 19
พ.ค. 09
เมษายน
เม.ย. 21
เม.ย. 03
เม.ย. 02
มีนาคม
มี.ค. 26
มี.ค. 18
2013
ธันวาคม
ธ.ค. 26
ธ.ค. 19
ธ.ค. 18
กันยายน
ก.ย. 21
สิงหาคม
ส.ค. 08
ส.ค. 06
กรกฎาคม
ก.ค. 29
มิถุนายน
มิ.ย. 20
มิ.ย. 18
มิ.ย. 17
มิ.ย. 03
พฤษภาคม
พ.ค. 31
พ.ค. 28
พ.ค. 07
เมษายน
เม.ย. 29
เม.ย. 25
เม.ย. 24
เม.ย. 16
เม.ย. 10
เม.ย. 09
เม.ย. 05
เม.ย. 04
มีนาคม
มี.ค. 28
มี.ค. 19
มี.ค. 08
มี.ค. 07
มี.ค. 06
มี.ค. 04
มี.ค. 03
กุมภาพันธ์
ก.พ. 25
ก.พ. 21
ก.พ. 19
ก.พ. 18
ก.พ. 15
ก.พ. 06
ก.พ. 05
ก.พ. 04
ก.พ. 01
มกราคม
ม.ค. 31
ม.ค. 30
ม.ค. 29
ม.ค. 25
ม.ค. 22
ม.ค. 15
2012
ธันวาคม
ธ.ค. 26
ธ.ค. 18
ธ.ค. 13
ธ.ค. 10
พฤศจิกายน
พ.ย. 30
พ.ย. 27
พ.ย. 26
พ.ย. 21
พ.ย. 10
พ.ย. 08
พ.ย. 02
พ.ย. 01
ตุลาคม
ต.ค. 18
ต.ค. 11
ต.ค. 09
ต.ค. 08
ต.ค. 05
ต.ค. 02
กันยายน
ก.ย. 26
ก.ย. 25
ก.ย. 24
ก.ย. 21
ก.ย. 18
ก.ย. 17
ก.ย. 13
ก.ย. 11
ก.ย. 10
ก.ย. 07
ก.ย. 06
ก.ย. 05
ก.ย. 04
สิงหาคม
ส.ค. 28
ส.ค. 22
ส.ค. 20
ส.ค. 15
ส.ค. 10
ส.ค. 07
ส.ค. 02
กรกฎาคม
ก.ค. 30
ก.ค. 19
ก.ค. 18
ก.ค. 16
ก.ค. 13
ก.ค. 12
ก.ค. 11
มิถุนายน
มิ.ย. 27
มิ.ย. 26
มิ.ย. 22
มิ.ย. 21
มิ.ย. 20
มิ.ย. 19
มิ.ย. 18
มิ.ย. 15
มิ.ย. 14
มิ.ย. 07
พฤษภาคม
พ.ค. 30
พ.ค. 28
พ.ค. 25
พ.ค. 24
พ.ค. 23
พ.ค. 22
พ.ค. 17
พ.ค. 16
พ.ค. 14
พ.ค. 11
พ.ค. 10
พ.ค. 09
พ.ค. 08
พ.ค. 04
พ.ค. 03
เมษายน
เม.ย. 30
เม.ย. 27
เม.ย. 26
เม.ย. 25
เม.ย. 19
เม.ย. 18
เม.ย. 13
เม.ย. 12
เม.ย. 04
เม.ย. 03
เม.ย. 02
มีนาคม
มี.ค. 26
มี.ค. 06
มี.ค. 05
มี.ค. 01
กุมภาพันธ์
ก.พ. 29
ก.พ. 28
ก.พ. 24
ก.พ. 22
ก.พ. 20
ก.พ. 14
ก.พ. 13
ก.พ. 07
มกราคม
ม.ค. 31
อัพเดตนโยบายความเป็นส่วนตัวและเงื่อนไขการให้บริการ...
ม.ค. 27
Google+ พัฒนาระบบความปลอดภัยใหม่ พร้อมเเล้วสำหรับว...
ม.ค. 23
ร่วม +1 พลัง ฟื้นฟูโรงเรียน คืนรอยยิ้มให้น้องๆ กัน
ม.ค. 21
ได้โปรดอย่าปิดกั้นเว็บ
ม.ค. 18
เบ็คแฮมปั่นฟรีคิกที่ Google
ม.ค. 16
สวัสดีวันครู
ม.ค. 14
พี่เบิร์ด ธงไชย เชื่อมสังคมไทยเข้ากับเทคโนโลยี เป็...
ม.ค. 11
Search, plus Your World เครื่องมือค้นหาใหม่, เชื่อ...
ม.ค. 06
2011
ธันวาคม
ธ.ค. 16
ธ.ค. 13
ธ.ค. 08
ธ.ค. 05
พฤศจิกายน
พ.ย. 29
พ.ย. 24
พ.ย. 18
พ.ย. 08
พ.ย. 03
ตุลาคม
ต.ค. 27
ต.ค. 15
ต.ค. 11
กันยายน
ก.ย. 28
ก.ย. 27
ก.ย. 23
ก.ย. 13
ก.ย. 02
ก.ย. 01
สิงหาคม
ส.ค. 26
ส.ค. 12
มิถุนายน
มิ.ย. 08
เมษายน
เม.ย. 13
เม.ย. 12
เม.ย. 01
มกราคม
ม.ค. 21
2010
พฤศจิกายน
พ.ย. 10
ตุลาคม
ต.ค. 29
ต.ค. 12
ต.ค. 06
กันยายน
ก.ย. 28
ก.ย. 21
ก.ย. 14
ก.ย. 06
สิงหาคม
ส.ค. 31
ส.ค. 24
ส.ค. 16
ส.ค. 09
ส.ค. 03
กรกฎาคม
ก.ค. 27
ก.ค. 26
ก.ค. 20
มิถุนายน
มิ.ย. 26
มิ.ย. 18
มิ.ย. 15
มิ.ย. 10
มิ.ย. 07
พฤษภาคม
พ.ค. 25
พ.ค. 23
พ.ค. 12
พ.ค. 07
พ.ค. 05
เมษายน
เม.ย. 13
มีนาคม
มี.ค. 26
มี.ค. 23
มี.ค. 11
มี.ค. 05
มกราคม
ม.ค. 26
ม.ค. 18
2009
ธันวาคม
ธ.ค. 14
พฤศจิกายน
พ.ย. 30
พ.ย. 12
พ.ย. 09
พ.ย. 02
ตุลาคม
ต.ค. 22
ต.ค. 15
กันยายน
ก.ย. 17
ก.ย. 10
สิงหาคม
ส.ค. 21
ส.ค. 10
กรกฎาคม
ก.ค. 16
ก.ค. 08
ก.ค. 02
มิถุนายน
มิ.ย. 25
มิ.ย. 15
พฤษภาคม
พ.ค. 22
พ.ค. 04
เมษายน
เม.ย. 29
เม.ย. 23
เม.ย. 20
เม.ย. 15
เม.ย. 13
เม.ย. 01
มีนาคม
มี.ค. 31